นักวิจัยดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2566

คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ได้สร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนยกย่องอาจารย์และนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ดีเด่น โดยพิจารณาจากผู้ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณของสถาบันเพื่อเป็นทุนวิจัยหรืองานสร้างสรรค์รวมถึงการเผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ได้แก่ อาจารย์ ดร.อรุณี อินเทพ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และอาจารย์ ดร.ณัฐพงศ์ รักงาม สาขาวิชาการเมืองการปกครอง เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจตลอดจนเพื่อเป็นการยกย่องรวมไปถึงเป็นตัวอย่างให้กับคณาจารย์และนักวิจัยในการพัฒนางานวิจัยให้มีคุณภาพต่อสังคมต่อไป

บทความวิจัย/บทความวิชาการที่โดดเด่น
1. การจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนชาติพันธุ์ขมุบ้านวังผา ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
1. บทความวิจัยการจัดการป่าชุมชน ภายใต้พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. 2562
2. บทความวิจัยการจัดการขยะมูลฝอยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนชาติพันธุ์ขมุบ้านวังผา ตำบลท่าข้าม อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
3. บทความวิจัยบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในการจัดการการท่องเที่ยวชุมชนสำหรับผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาชุมชนศรีดอนชัย อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
4. บทความวิจัยนวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชน ตามแนวทางประชารัฐ ในอำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
5. บทความวิจัยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ถุงผ้าปักครอสติช จังหวัดเชียงราย
อาจารย์ ดร.อรุณี อินเทพ
อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
บทความวิจัย/บทความวิชาการที่โดดเด่น
1. แนวทางการใช้ประโยชน์ร่วมในระบบกรรมสิทธิ์ที่ดินระหว่างรัฐกับประชาชนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษเชียงของ จังหวัดเชียงราย
2. การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการน้ำเพื่อความยั่งยืนของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตำบลป่าตาล อำเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย
3. การสร้างและสื่อสารตราพรรคอนาคตใหม่
4. คุณภาพชีวิตของประชาชนภายใต้การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล
5. การพัฒนาการบริหารจัดการพื้นที่จุดผ่อนปรนบ้านห้วยลึก ตาบลม่วงยาย อาเภอ เวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
6. โรงเรียนผู้สูงอายุวัดหัวฝายกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหัวฝาย ตำบลสันกลาง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย
7. การจัดการความขัดแย้งและสร้างความปรองดองตามแนวทางพระพุทธศาสนา: กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 จังหวัดเชียงราย
8. บทบาทของพระพุทธศาสนาในการจัดการความขัดแย้งและสร้างความปรองดองในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
9. การปกครองท้องถิ่น เศรษฐกิจ และสังคม ต่อการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในเขตตำบลแม่ยาว จังหวัดเชียงราย
10. แนวคิดอัตลักษณ์ท้องถิ่นภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์
11. การบริหารจัดการภาครัฐเกี่ยวกับผู้ได้รับสัญชาติไทย กรณีศึกษา : หมู่บ้านดอยสะโง้ ตำบลศรีดอนมูล อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
อาจารย์ ดร.ณัฐพงศ์ รักงาม
อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต