วารสารบริหารรัฐกิจ สำนักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย



รายละเอียดของบทความ
วารสารบริหารรัฐกิจ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2565

ชื่อเรื่อง (th) : การศึกษาการจัดงานมหกรรมไม้ดอกอาเซียนเชียงราย 2020 ณ สวนไม้งามริมน้ากก จังหวัดเชียงราย
ชื่อเรื่อง (en) : Study on the arrangement of the Chiang Rai ASEAN Flower Expo 2020 at the Kok Riverside Garden Chiang Rai

ชื่อผู้แต่ง (th) : กัณณิกา สุจะดา, ทิพย์ ศรีนวล, นรินทร์ทิพย์ ติคา, กัญญารัตน์ บัวย้อย, และวราดวง สมณาศักดิ์
ชื่อผู้แต่ง (en) : Kannika Sujada, Thip Srinuea, Narinthip Tikam, Kanyarat Buayoi & Waraduang Sommanasak
PDF
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นต่อการจัดงานมหกรรมไม้ดอกอาเซียน เชียงราย 2020 ณ สวนไม้งามริมน้ากก จังหวัดเชียงราย และ (2) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ การจัดงานมหกรรมไม้ดอกอาเซียนเชียงราย 2020 ณ สวนไม้งามริมน้ากก จังหวัดเชียงราย โดยใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักท่องเที่ยวเข้าชมงานมหกรรมไม้ ดอกอาเซียนเชียงราย 2020 จานวน 200 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) ระดับความคิดเห็นต่อการจัดงานมหกรรมไม้ดอกอาเซียนเชียงราย 2020 ณ สวนไม้งามริมน้ากก จังหวัดเชียงรายโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 2) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ จัดงานมหกรรมไม้ดอกอาเซียนเชียงราย 2020 ณ สวนไม้งามริมน้ากก จังหวัดเชียงราย ได้แก่ ต้องการให้ หน่วยงานเพิ่มพันธุ์ไม้และมีการจาหน่ายพันธุ์ไม้สาหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการ ควรปรับโครงสร้างและเปลี่ยน แนวคิดในการจัดงานในแต่ละปี ควรมีโซนดอกไม้ที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินเข้าไปถ่ายรูปได้ ควรปรับปรุงห้องน้าให้มีความสะอาดและมีจานวนที่เพียงพอต่อนักท่องเที่ยวภายในงาน และต้องการให้หน่วยงานเพิ่มการ ประชาสัมพันธ์และเพิ่มระยะเวลาในการจัดงาน เพื่อให้นักท่องเที่ยวต่างจังหวัดเข้ามาเที่ยวชมในจานวนมาก คาสาคัญ: การจัดงาน, มหกรรมไม้ดอก, สวนไม้งามริมน้ากก
Abstract
The objectives of this research are (1) to study the level of organizing of the Chiang Rai ASEAN Flower Expo 2020 at the Kok Riverside Garden. Chiang Rai Province and (2) to study the level of problems and suggestions about Organizing the ASEAN Flower Festival Chiang Rai 2020 at the Kok Riverside Garden Chiang Rai the questionnaire was used as a study tool. The samples used in the study were there were 200 tourists visiting the Chiang Rai ASEAN Flower Festival 2019. The statistics used in the analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation. The results of the study revealed that 1) the level of organizing the Chiang Rai ASEAN Flower Expo 2020 at the Kok Riverside Garden. Chiang Rai Province as a whole was at a high level and 2) problems and suggestions about Organizing the ASEAN Flower Festival Chiang Rai 2020 at the Kok Riverside Garden Chiang Rai Province, namely wanting the agency to increase plant species and selling plants for tourists who want should restructure and change the concept of organizing events each year There should be a flower zone where tourists can walk in and take pictures. Restrooms should be improved to be clean and have sufficient numbers for tourists at the event and want the agency to increase publicity and increase the duration of the event for tourists from other provinces to visit in large numbers. Keywords: organizing events, Flower Festival, Beautiful garden by the Kok Rive
บรรณานุกรม
ภาษาไทย กมลชนก จันทร์เกตุ. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืนกรณีศึกษาชุมชนเกาะยอจังหวัด สงขลา. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารรัฐกิจและกิจการสาธารณะ) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กาญจนาพร ไตรภพ และพิเศษ ชัยดิเรก. (2563). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนของจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด. กัลยา วานิชย์บัญชา. (2560). การวิเคราะห์สถิติชั้นสูงด้วย SPSS for Window (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด สามลดา. ปทุมพร แก้วคา. (2561). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านฮ่องแฮ่ Community Based Tourism Management Baan Hong Hae. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(3), 133-149. ปิยพงษ์ ยาเมฆ. (2561). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิงการเกษตรของศูนย์ พัฒนาโครงการหลวงม่อนเงาะ อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (2562). การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและศาสนาในประเทศอาเซียน: กรณีศึกษาหลวงพระบาง สปป.ลาว. โครงการพัฒนาศักยภาพการวิจัยเชิงพื้นที่ในกลุ่มประเทศ อาเซียน ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. วิไลพร เสถียรอุดร. (2561). ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการจัดการการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วุฒิชัย เทพเทียมทัศน์. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการการตลาดการท่องเที่ยวอาเซียนอย่างมีความ ได้เปรียบตามการรับรู้ของนักท่องเที่ยวไทยระดับบน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม. สุไรดา กาซอ. (2561). แนวทางการจัดการการท่องเที่ยว พื้นที่ตาบลทุ่งหว้า อาเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สุวิมล คนไว และพันธ์วลี รวมรีย์. (2562). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยว ประเพณีขึ้น เขาพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถัมภ์, 14(1), 194-204. องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย. (2562). งานมหกรรมไม้ดอกอาเซียนเชียงราย 2019. เชียงราย: องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย. อับดุลฟัตตะห์ มูซอด และคณะ. (2561). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อตลาดต้องชมแลผาหน้าถ้า ตาบลหน้าถ้า อาเภอเมือง จังหวัดยะลา. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ภาษาอังกฤษ Best, J., & Kahn, J. V. (1993). Research in Education (7th ed). Boston: Allyn and Bacon. Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Testing (5thed). New York: Harper Collins Publishers. Krejcie, R.V., & Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.