วารสารบริหารรัฐกิจ สำนักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย



รายละเอียดของบทความ
วารสารบริหารรัฐกิจ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม - มิถุนายน 2565

ชื่อเรื่อง (th) : คุณภำพชีวิตประชำชนภำยใต้กำรจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล
ชื่อเรื่อง (en) : Quality of life under the establishment of Philosophy of Sufficiency Economy and New Agricultural Theory Learning Center of the Sub-district

ชื่อผู้แต่ง (th) : ณัฐพงศ์ รักงาม และวราดวง สมณาศักดิ์
ชื่อผู้แต่ง (en) : Nattapong Rakgam & Waraduang Sommanasak
PDF
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอคุณภาพชีวิตประชาชนภายใต้การจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล พบว่า คุณภาพชีวิตประชาชนภายหลังมีการจัดตั้งศูนย์ เรียนรู้ฯ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านจิตใจ ด้านการศึกษา ด้านรายได้ ด้านการมีส่วน ร่วมในชุมชนและด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์แรกเริ่มของการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ฯ ที่ต้องการให้ ประชาชนได้ตระหนักรู้และเกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ให้เกิดการจัดการความรู้ ของชุมชนในรูปแบบชุมชนศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่คนไทยทุกคนควรยึดถือเพื่อเป็น แนวทางในการประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตประชาชน, ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจา ตาบล
Abstract
Abstract This article aims to present the quality of life of the people and the establishment of a Philosophy of Sufficiency Economy and New Agricultural Theory Learning Center of the Sub-district. People have better quality of life for 5 aspects. There were mental aspect, education aspect, income aspect, participation in the community aspect and the environment aspect which is in accordance with the initial objectives of the establishment of the learning center that wants people to be aware of and develop quality of life as well as to disseminate knowledge to the knowledge management of the community in the form of a community study in accordance with the philosophy of the sufficiency economy that all thai people should uphold as a guideline in applying quality life. Keywords: Quality of life, Philosophy of Sufficiency Economy and New Agricultural Theory Learning Center of the Sub-district
บรรณานุกรม
ภำษำไทย นิสรา ใจซื่อ. (2557). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสาเร็จในการเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. ประเสริฐ แก้วไพฑูรย์. (2556). คุณภาพชีวิตของคนในเขตเทศบาลนครแหลมฉบังจากการที่มีแรงงานต่างด้าว เข้ามา. เชียงใหม่ : แบบฝึกหัดการวิจัยปัญหาเศรษฐกิจปัจจุบัน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วราดวง สมณาศักดิ์. (2561). บทบาทของศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจาตาบลที่มีต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในพื้นที่ตาบลป่าสัก อาเภอภูซาง จังหวัดพะเยา. สานักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. ศิรินันท์ กิตติสุขสถิตและคณะ. (2556). คุณภาพชีวิต การทางานและความสุข. โครงการจับตาสถานการณ์ ความสุขของคนทางานในประเทศไทย. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธรรมดาเพลส จากัด.