วารสารบริหารรัฐกิจ สำนักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย



/

A PHP Error was encountered

Severity: Notice

Message: Undefined offset: 0

Filename: pubjo/fulldetail.php

Line Number: 71

Backtrace:

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\views\pubjo\fulldetail.php
Line: 71
Function: _error_handler

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\controllers\Pubjo.php
Line: 73
Function: view

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\index.php
Line: 315
Function: require_once

">ปีที่

A PHP Error was encountered

Severity: Notice

Message: Undefined offset: 0

Filename: pubjo/fulldetail.php

Line Number: 71

Backtrace:

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\views\pubjo\fulldetail.php
Line: 71
Function: _error_handler

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\controllers\Pubjo.php
Line: 73
Function: view

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\index.php
Line: 315
Function: require_once

ฉบับที่

A PHP Error was encountered

Severity: Notice

Message: Undefined offset: 0

Filename: pubjo/fulldetail.php

Line Number: 71

Backtrace:

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\views\pubjo\fulldetail.php
Line: 71
Function: _error_handler

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\controllers\Pubjo.php
Line: 73
Function: view

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\index.php
Line: 315
Function: require_once

ประจำเดือน

A PHP Error was encountered

Severity: Notice

Message: Undefined offset: 0

Filename: pubjo/fulldetail.php

Line Number: 71

Backtrace:

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\views\pubjo\fulldetail.php
Line: 71
Function: _error_handler

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\controllers\Pubjo.php
Line: 73
Function: view

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\index.php
Line: 315
Function: require_once

A PHP Error was encountered

Severity: Notice

Message: Undefined offset: 0

Filename: pubjo/fulldetail.php

Line Number: 71

Backtrace:

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\views\pubjo\fulldetail.php
Line: 71
Function: _error_handler

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\controllers\Pubjo.php
Line: 73
Function: view

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\index.php
Line: 315
Function: require_once

A PHP Error was encountered

Severity: Notice

Message: Undefined offset: 0

Filename: pubjo/fulldetail.php

Line Number: 71

Backtrace:

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\views\pubjo\fulldetail.php
Line: 71
Function: _error_handler

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\controllers\Pubjo.php
Line: 73
Function: view

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\index.php
Line: 315
Function: require_once

A PHP Error was encountered

Severity: Notice

Message: Undefined offset: 0

Filename: pubjo/fulldetail.php

Line Number: 71

Backtrace:

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\views\pubjo\fulldetail.php
Line: 71
Function: _error_handler

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\application\controllers\Pubjo.php
Line: 73
Function: view

File: C:\inetpub\wwwroot\pub_web2021\index.php
Line: 315
Function: require_once


ชื่อเรื่อง (th) : โครงการประชารัฐ: นโยบายเชิงประชานิยมภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่กับการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
ชื่อเรื่อง (en) : Populist Project: Populism Policies under [Thailand’s] New Constitution and the Inheritance of the National Council for Peace and Order (NCPO)

ชื่อผู้แต่ง (th) : ยุทธศาสตร์ หน่อแก้ว
ชื่อผู้แต่ง (en) : Yutthasart Norkaew
PDF
บทคัดย่อ

     “โครงการประชารัฐ” เป็นการดำเนินนโยบายของรัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557-2562 และยังมีการสานต่อนโยบายดังกล่าวผ่านการสืบทอดอำนาจตามกระบวนการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2562 ภายใต้ “พรรคการเมืองนอมินี” ในนาม “พรรคพลังประชารัฐ” และได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยการดำเนินนโยบายต่างๆ เป็นการเปลี่ยนชื่อ “นโยบายประชานิยม” ที่ประสบความสำเร็จในอดีต เพื่อให้เอื้อต่อการสร้างฐานความนิยมทางการเมืองของตนและมุ่งตอบสนองต่อความต้องการขั้นพื้นฐานของประชาชนอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าชนชั้นกลางหรือกลุ่มนายทุนจะมีการโจมตี “นโยบายประชา
นิยม” ในประเด็นเรื่องของความสิ้นเปลืองในทางเศรษฐศาสตร์ แต่ก็ไม่อาจทำให้การออกนโยบายต่างๆ ของรัฐบาลหลุดพ้นจากแนวทางดังกล่าวไปได้ อันมีสาเหตุหลักมาจากการมุ่งเอาใจกลุ่มฐานเสียงส่วนใหญ่ที่อยู่ในสังคม ซึ่งก็คือ “กลุ่มชนชั้นรากหญ้า” ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลใหม่ที่มาจากการสืบทอดอำนาจทางการเมืองผ่านกระบวนการเลือกตั้ง ในปี พ.ศ. 2562 จึงต้องดำเนินนโยบายที่มุ่งเน้นฐานความนิยมและฐานเสียงการสนับสนุนจากประชาชน เพื่อให้ได้รับการเลือกตั้งมากกว่าที่จะมุ่งเน้นฐานนโยบายของพรรคการเมือง ซึ่งนำเสนอในประเด็นการสร้างระบบเศรษฐกิจแบบยั่งยืนภายใต้ “แนวทางรัฐสวัสดิการ” ที่มุ่งเน้นการจัดเก็บภาษีและตอบแทนประชาชนผู้เสียภาษีผ่านสวัสดิการสังคมอย่างมีคุณภาพ

     บทความวิชาการเรื่องนี้ จึงต้องการศึกษาความหมายของประชานิยมและแนวทางการดำเนินนโยบายในประเทศไทย แนวทางการบูรณาการโครงการประชารัฐผ่านกระบวนการต่างๆ โดยผนวกเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ตลอดจนปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยภายใต้นโยบายเชิงประชานิยม ผลการศึกษาพบว่า แนวทาง “ประชานิยมดั้งเดิม” ของรัฐบาลยุคที่ผ่านมาในอดีต ซึ่งถูกเปลี่ยนชื่อนโยบายจนกลายเป็น “โครงการประชารัฐ” ภายใต้การวางแผนแนวทางการดำเนินนโยบายและการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ในนาม “พรรคพลังประชารัฐ” ภายหลังการเลือกตั้ง ในปี พ.ศ. 2562 นั้น สามารถวิเคราะห์และสรุปเหตุผลสำคัญของการดำเนิน “นโยบายเชิงประชานิยม” ภายใต้ชื่อ “โครงการประชารัฐ” ออกมาได้ 5 ประการ ดังนี้ 1) การสร้างความชอบธรรมเชิงนโยบายและฐานความนิยมทางการเมือง 2) การสร้างกลไกการสืบทอดอำนาจผ่านรัฐธรรมนูญโดยการยึดโยงนโยบายเชิงประชานิยมผนวกเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3) การสานต่อนโยบายประชารัฐเดิมของรัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) 4) การแสดงรูปแบบอัตลักษณ์เชิงนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม 5) การบ่งชี้อุดมการณ์ให้สอดคล้องกับบริบทของการแข่งขันทางการเมือง

คำสำคัญ: โครงการประชารัฐ, นโยบายเชิงประชานิยม, รัฐธรรมนูญ, คณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)


Abstract

    “Populist Project” was the policy implementation of the National Council for Peace and Order (NCPO) that had proceeded from 2014 to 2017 and was then monitored in a way that the NCPO regime made the transfer of power [from a military to a civilian government] under the party’s name, Palang Pracharath as a proxy party, through the 2019 electoral process. Palang Pracharath Party (PPRP) was a core party to form a government and transformed the NCPO implemented policies into line with successful implementation of ‘populist policies’ in the past period. The transformation [of ‘populist policies’ into ‘Populist Project] entailed gaining in its political popularity and meeting the basic needs of the general populace continually. Although the middle-classed people or investors censured the ‘Civil State Policy’ on the loss of economic efficiency, the government’s policy manifesto had yet to be rooted out of populism policies. The reasonable cause was to satisfy the vast majority of political bastion in civil society, viz, ‘grass-roots groups’. Consequently, the new government formed by the transfer of NCPO political power to the 2019 electoral process is obligated to implement its ‘civil state policy’ with more emphasis on crucial political support bases and political popularities in order to win the election than the proposed party policies by PPRP. In its election manifesto, the PPRP had indeed proposed creating the sustainable economic systems in relation to ‘welfare state’ with a focus on the efficiency of collecting taxes and providing taxpayers with social welfare benefits.

    This article aims to study the meanings of populism, the operational guidelines for government policy implementation in Thailand, the integration of civil state programs consistent with the national strategic plans enshrined in the new constitution, and the problems of inequalities in Thai society under [neo] populism. The study showed that the operational guidelines of ‘populism in the previous periods’ adopted by prior governments were transformed and tailored to the party platform of ‘civil state (Pracharath) programs’designed and implemented by NCPO and the transfer of NCPO political power to ‘Palang Pracharath Party’ after the 2019 election. They could be analysed and summarized into five major aspects with regard to the [successful] policy implementation of populist policies via civil state policies, namely: 1) empowering policy legitimacies and political popularities; 2) incorporating legal mechanisms designed to enable the National Council for Peace and Order (NCPO) to transfer its power into the 2017 Constitution consistent with the 20-year national strategic plans; 3) undertaking the NCPO implemented policies ; 4) demonstrating the model of policy-oriented identities, and 5) identifying political policies in accordance with a context of political competition.

Keyword: Populist Project, Populism Policies, Constitution, National Council for Peace and Order (NCPO)


บรรณานุกรม

เฉลิมพล ไวทยางกูร. (2560). ความเหลื่อมล้ำในสังคมที่เกิดจากนโยบายรัฐ (จบ). สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/641826
ชลลดา อิงศรีสว่าง. (2559). ของขวัญปีใหม่จากรัฐบาล เดิมพันปลุกเศรษฐกิจไทย. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2562, จาก https://www.posttoday.com/politic/report/470837
ฐิติกร สังข์แก้ว และ อรรถสิทธิ์ พานแก้ว. (2559). Road Map ประชาธิปไตย. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2562, จาก wiki.kpi.ac.th/index.php?title=Road_Map_ประชาธิปไตย
ณัฐพล วงษ์กระสัน. (2554). กรีซ: กรณีศึกษาวิกฤตหนี้สินและภาวะประชานิยมที่กระทบต่อนิเวศวิทยามนุษย์. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2562, จาก http://popularity49.blogspot.com/2011/12/blog-post_22.html
ทรงภูมิ พรหมภาพ และ โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. (2558). ปัจจัยที่ก่อให้เกิด “ประชานิยม” ทางการเมืองไทย ปี พ.ศ. 2549 – 2553. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 4(2), 232-249.
นันทวุฒิ พิพัฒน์เสรีธรรม. (2551). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเกิดขึ้นของประชานิยมในประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์, 26(3).
พรรคพลังประชารัฐ. (2562). สวัสดิการประชารัฐ. สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562, จาก https://pprp.or.th/สวัสดิการประชารัฐ/
_______. (2562). สังคมประชารัฐ. สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562, จาก https://pprp.or.th/สังคมประชารัฐ/
_______. (2562). เศรษฐกิจประชารัฐ. สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562, จาก https://pprp.or.th/เศรษฐกิจประชารัฐ/
ภัทร หวังกิตติกุล. (2554). ผลกระทบของนโยบายประชานิยมแบบทักษิณต่อการเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตยของไทย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562, จาก http://cuir.car.chula.ac.th/dspace/bitstream/123456789/60016/1/5781044024.pdf
รติมา คชนันทน์. (2558). วิเคราะห์ จุดต่าง ประชารัฐ-ประชานิยม. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2562, จาก http://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/520919/hi2558-098.pdf?sequence=1
รัฐสภา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: รัฐสภา.
_______. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2562, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF

ยุทธพร อิสรชัย. (2561). รัฐบาลสายเปย์ แจกโบนัสคนจน ทำวุ่นทั้งเมือง!!. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2562, จาก https://mgronline.com/live/detail/9610000122634 26/6/62
วรรณโชค ไชยสะอาด. (2560). เครื่องหยอดเหรียญบนรถเมล์”ประชาชนรับกรรม เมื่อ ขสมก. คือจุดอ่อน. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2562, จาก https://www.posttoday.com/politic/report/530566
วีรพงษ์ ชุติภัทร์. (2554). กรีซ… ประเทศฉิบหาย…ช่างมัน ขอให้ข้า…ชนะก่อน. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2562, จาก http://www.doctorwe.com/posttoday/20110707
ศิริกัญญา ตันสกุล และคณะ. (มปป.). สถาบันอนาคตไทยศึกษา ซีรี่ส์งานศึกษาเรื่องความเหลื่อมล้ำ 8 ข้อเท็จจริงความเหลื่อมล้ำในไทย. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2562, จาก https://thaipublica.org/wp-content/uploads/2014/04/8-ข้อเท็จจริงความเหลื่อมล้ำในไทย_full_report.pdf
สมชัย จิตสุชน. (2558). ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย: แนวโน้มนโยบายและแนวทางขับเคลื่อนนโยบาย.สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2562, จาก https://tdri.or.th/wp-content/uploads/2017/06/Synthesis-Report-Year-2-Inclusive-Growth.pdf
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). (ร่าง) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579). สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.nesdb.go.th/download/document/ร่างยุทธศาสตร์ชาติ%20ระยะ%2020%20ปี%20(พ.ศ2560%20-%202579).pdf
_______. (2560). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561–2580 (ฉบับย่อ). สืบค้นเมื่อ 21 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.nesdb.go.th/download/document/SAC/NS_SumPlanOct2018.pdf
อติวิชญ์ แสงสุวรรณ. (2554). ความเหลื่อมล้ำ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้น เมื่อ 14 กรกฎาคม 2562, จาก https://library2.parliament.go.th/ebook/content-issue/2558/hi2558-052.pdf
อนุสรณ์ ธรรมใจ. (2561). ประชารัฐ ประชานิยม และรัฐสวัสดิการ. สืบค้น เมื่อ 13 กรกฎาคม 2562, จาก https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/635795
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2549). ทักษิณา-ประชานิยม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.
อัญชิรญา จันทรปิฎก. (2562). ภาพลวงทางการคลัง : บทวิเคราะห์ผลกระทบจากการดำเนินนโยบายประชานิยม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(1), 1-17.
Ktcore. (2561). “บัตรคนจน”นโยบายสวัสดิการแห่งรัฐ 4.0 ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว?.สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2562, จาก https://www.ktcore.com/2018/602/
Storylog. (2559). บทเรียนจากอาร์เจนติน่า. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2562, จาก https://storylog.co/story/5731de4927d3f4562310cdf3 3/7/62
Voicetv. (2562). ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 14.5 ล้านราย ใช้จ่ายเดือน ม.ค. กว่า 3,800 ล้านบาท.สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2562, จาก https://voicetv.co.th/read/xSgkOLbs2

Workpoint News. (2561). ย