วารสารบริหารรัฐกิจ สำนักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย



รายละเอียดของบทความ
วารสารบริหารรัฐกิจ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2564

ชื่อเรื่อง (th) : มิติเชิงนโยบายในความคาดหวังกับความจริงด้านการจัดการสวัสดิการของผู้สูงอายุ
ชื่อเรื่อง (en) : Policy Dimension of Expectation and Truth in The Welfare Service Management for The Elderly Persons

ชื่อผู้แต่ง (th) : ทศพล พงษ์ต๊ะ
ชื่อผู้แต่ง (en) : Thotsapon Pongta
PDF
บทคัดย่อ

ตามเกณฑ์ขององค์การสหประชาชาติ ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548 โดยผู้สูงอายุมีจำนวนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี และจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า รัฐบาลมีมาตรการสำหรับเตรียมความพร้อมต่อสถานการณ์สังคมผู้สูงอายุผ่านรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กฎหมาย แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และนโยบาย โดยมีการปรับปรุงเพื่อพัฒนาทั้งในแง่ของสิทธิหรือสวัสดิการต่าง ๆ ของผู้สูงอายุในการเข้าถึงการให้บริการสาธารณะของรัฐ นอกจากนั้นสถาบันครอบครัวและชุมชนนับเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาทในการดูแลผู้สูงอายุ อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการพัฒนาในเชิงนโยบายเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง แต่ทว่าปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง โรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ ขาดกำลังทรัพย์ที่จะจ่ายค่ารักษาพยาบาล ยังปรากฏให้เห็นตามสื่อต่าง ๆ ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่ามาตรการของรัฐที่เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุในปัจจุบันจึงยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองต่อความต้องการของผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม 

คำสำคัญ: ผู้สูงอายุ; นโยบาย; สวัสดิการ; ความคาดหวัง


Abstract

According to the criteria of the United Nations [Principles for Older Persons], Thailand has entered an aging society since 2005 and continues to experience steady increases in the number of older persons. With regard to the literature review chapter, it was found that Thai government had implemented measures to prepare readiness for the aging society situations by adopting various forms of laws, national economic and social development plans, and policies, for instance. The government policies were developed continually into the rights and welfare of the elderly persons in terms of access to other state public services. In addition, the family and community institutions were the underlying mechanisms to play a role in providing care and support for them. Although the policy development has occurred continually in health services, the problems are meanwhile encountered with respect to elderly neglect, diseases among elderly adults, and financial hardship in paying for medical care wherein these issues are explicitly exposed on social media as well. Therefore, it can be said that the current implementation of government measures is not effective in solving the problems and responding to the needs of elderly persons appropriately.

Keyword: The elderly; policy; welfare; Expectation


บรรณานุกรม

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2562). สถิติผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2555–2562. (20 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก http://www.dop.go.th/th/know/1/274.

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2553). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ 2546 (แก้ไขเพิ่มเติม) พ.ศ. 2553. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.

จุมพล หนิมพานิช. (2547). การวิเคราะห์นโยบาย : ขอบข่าย แนวคิด ทฤษฎี และกรณีตัวอย่าง. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ชื่นฤทัย กาญจนจิตรา. (2560). สุขภาพคนไทย. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ดำรงศักดิ์ จันโททัย. (2563). บทเรียนการจัดการสังคมผู้สูงอายุจากประเทศญี่ปุ่น. วารสารนิติ รัฐกิจ และสังคมศาสตร์. ปีที่ 4 (1) มกราคม – มิถุนายน 2563 : 159 – 181.

ทศพล พงษ์ต๊ะ และณัฐพงษ์ รักงาม. (2561). โรงเรียนผู้สูงอายุวัดหัวฝายกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหัวฝาย ตำบลสันกลาง อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ธีรพันธ์ อินต๊ะปาน. (2563). จากสังคมผู้สูงอายุ สู่ปัญหาผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ข้อเสนอแนะและการจัดการปัญหา. (20 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_1418272.

แนวหน้า. (2561). เผยสถิติผู้สูงอายุถูกละเมิดสูงขึ้น มากสุดคือทางจิตใจโดนทอดทิ้ง. (20 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก https://www.naewna.com/local/322482.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2558). สังคมผู้สูงอายุ : นัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. (21 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก https://www.hsri.or.th/people/media/infographic/detail /5910.

______. (2551). สิทธิผู้สูงอายุ. (21 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก https://www.stou.ac.th/stoukc/elder/main2_9.html.

มติชนรายวัน. (12 กุมภาพันธ์ 2562). ผลวิจัยเผย “สูงวัยเสี่ยงถูกละเมิด” สูง อายุ 60 – 69 ปี เสี่ยงถูกฉ้อโกงที่สุด. ผู้จัดการรายวัน, น.18.

เมธี วงศ์ศิริสุวรรณ. (21 มกราคม 2561). ระบบยั่งยืนถ้าคนไทยมีความรับผิดชอบ. ไทยรัฐฉบับพิมพ์.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2550). นโยบายสาธารณะ. กรุงเทพมหานคร : บพิธการพิมพ์ จำกัด.

สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. (2557). สังคมผู้สูงอายุ. (20 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก https://www.hsri.or.th/people/media/infographic/detail/5910.

สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์. (2558). ดุลยภาพดุลยพินิจ: การปฏิรูปการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในประเทศญี่ปุ่น. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ).

สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ และอนุรัตน์ อนันธนาธร. (2555). นโยบายสาธารณะ Public Policy. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็ม.ที.เพรส.

สุทิน สายสงวน. (2552). นโยบายเกี่ยวกับผู้สูงอายุ : บทเรียนจากประเทศญี่ปุ่นและเกาหลีใต้. วารสารญี่ปุ่นศึกษา. ปีที่ 26 (2) : 71 – 83.

สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2562). รายงานสถิติข้อมูลการเกิด. (20 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/views/show ProvinceData.php.

______. (2562). จำนวนประชากรแยกรายอายุทั่วประเทศ. (20 มกราคม 2563). (Online). สืบค้นจาก http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/ upstat_age disp.php.

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2562). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี. กรุงเทพมหานคร : สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี.

สำนักวิชาการ สำนักเลขาสภาผู้แทนราษฎร. (2559). การขยายอายุเกษียรราชการกับระบบราชการไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักวิชาการ สำนักเลขาสภาผู้แทนราษฎร.

Reference

Chanthotai, D. (2020). Lessons on social management for the elderly from Japan. Journal of Legal Affairs and Social Sciences. Year 4 (1) January - June 2020: 159 - 181.

Department of Older Persons. (2019). Statistics for the elderly, 2012 - 2019. (20 January 2020). (Online). Retrieved from http://www.dop.go.th/en/know/1/274.

Frontline. (2018). Revealing statistics of the elderly being violated higher. The most is mentally abandoned. (20 January 2020). (Online). Search from https://www.naewna.com/local/322482.

Health Systems Research Institute. (2014). Elderly society. (20 January 2020). (Online). Retrieved from https://www.hsri.or.th/people/media/infographic/detail/5910.

Inthapan, T. (2020). From the elderly society to the problem of abandoned elderly Suggestions and problem management. (20 January 2020). (Online). Retrieved from https://www.matichon.co.th/columnists/news_1418272.

Kanchanachitra, C. (2017). Thai Health. Nakhon Pathom: Institute for Population and Social Research Mahidol University

Kesuwan, R. (2007). Public policy. Bangkok: Bophit Printing Co., Ltd.

Matichon Daily. (12 February 2019). Research results reveal "elderly are at risk of abuse". Highers aged 60 - 69 years are at the most risk of fraud. Daily manager, p. 18.

Ministry of Social Development and Human Security. (2010). Elderly Act 2003 (Amendment) 2010. Bangkok: Ministry of Social Development and Human Security.

Nimpanich, C. (2004). Policy Analysis: Scope, Concepts, Theory and Case Example. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open University.

Office of Registration Administration, Department of Local Administration, Ministry of Interior. (2019). Statistics report on birth data. (20 January 2020). (Online). Retrieved from http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/views/show

Office of the Secretariat, House of Representatives. (2016). Extension of retirement age with the Thai bureaucracy. Bangkok: Office of the Secretariat of the House of Representatives.

Paitoonpong, S. (2015). Balance of discretion: Long-term care reform in Japan. Bangkok: Thailand Development Research Institute (TDRI).

Phongtah, T. & Rakngam, N. (2018). The Elderly School at Hua Fai Temple and Strengthening the Hua Fai Community, San Klang Subdistrict, Phan District, Chiang Rai Province. Chiang Rai: Chiang Rai Rajabhat University.

ProvinceData.php. (2019). Number of population separated by age nationwide. (20 January 2020). (Online). Retrieved from http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/ upstat_age_disp.php.