วารสารบริหารรัฐกิจ สำนักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย



รายละเอียดของบทความ
วารสารบริหารรัฐกิจ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม - มิถุนายน 2566

ชื่อเรื่อง (th) : การขับเคลื่อนงานบริหารทรัพยากรมนุษย์สู่ดิจิทัล
ชื่อเรื่อง (en) : Driving Human Resource Management to Digital

ชื่อผู้แต่ง (th) : เพ็ญศรี ฉิรินัง
ชื่อผู้แต่ง (en) : Pensri Chirinang
PDF
บทคัดย่อ
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา หน้าที่ความรับผิดชอบหลักของฝ่ายทรัพยากรมนุษย์อาจจะดูไม่เปลี่ยนแปลง มากนัก ยังคงวนเวียนกับเรื่องการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การสรรหาและการคัดเลือก การฝึกอบรมและการ พัฒนา การบริหารเส้นทางอาชีพ การกาหนดและวางแผนพัฒนาผู้สืบทอดตาแหน่ง การบริหารพนักงานกลุ่ม ศักยภาพ การดูแลเรื่องค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ รวมทั้งงานพนักงานสัมพันธ์และคุณภาพชีวิตในการ ทางาน แต่เครื่องมือที่ใช้ในการบริหารจัดการให้บรรลุเป้าประสงค์ข้างต้นได้เปลี่ยนแปลงไปมาก เนื่องจาก เทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปรวดเร็วเร็วรวมทั้งความคาดหวังของพนักงานรุ่นใหม่ก็เปลี่ยนตามไปด้วย ดังนั้น หากฝ่าย ทรัพยากรมนุษย์ไม่ปรับให้ทันกับยุคดิจิทัล ก็จะไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันขององค์กรไว้ได้ เพราะพนักงานที่เก่งก็จะลาออกไปอยู่ในองค์กรที่มีการจัดหาเทคโนโลยี และมีสภาพแวดล้อมการทางานที่ เกื้อหนุนต่อทักษะของตนเองมากกว่า บทความนี้มุ่งนาเสนอการขับเคลื่อนองค์กรสู่การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในยุคดิจิทัล เพื่อเป็นแนวทางให้นักปฏิบัติการ ผู้ศึกษาและวิจัยทางด้านทรัพยากรมนุษย์ ได้เห็นวิธีการที่องค์กร ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้ทางานด้วยวิธีดิจิทัลได้ โดยอาศัยเครื่องมือที่เป็นเทคโนโลยี ใหม่ ๆ หรือแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ คาสาคัญ: การขับเคลื่อนองค์กร, การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัลดิจิทัล, เทคโนโลยี
Abstract
Over the past decade, the primary responsibilities of the human resources department may not seem to have changed much, still revolving around human resource planning, recruiting and selection, training and development, career path management, succession planning, talent management, compensation and benefits management, including employee relations and quality of work life. But the tools used in the management to achieve the above goals have changed a lot. Due to the rapidly changing technology and the expectations of the new generation of employees also change. Therefore, if the human resource department does not keep up with the digital age will not be able to maintain the organization’s competitiveness because the best employees will leave the organization that provides technology and a work environment that is more supportive of their skills. This article aims to present the organization's drive toward human resource management in the digital era. As a guideline for operators, human resource studies and researchers see how organizations can transform human resource management to work digitally by using new technology tools or applications. Keywords: Organization Driving, Digital HR, Technology
บรรณานุกรม

ภาษาไทย

ชญานุช จาตุรจินดา. (2564). AI กับการบริหารงานบุคคล. วารสารสังคมศาสตร์, 51(1), 31-50. พัชราภา โพธิ์อ่อง (2561). เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital HR) กับการเพิ่มประสิทธิภาพ การสรรหาบุคลากรใน องค์กรธุรกิจค้าปลีก. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะ พาณิชยศาสตร์และการบัญชี. สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ผลการศึกษาและจัดทาดัชนีตัวชี้วัด การ พัฒนาดิจิทัลของประเทศไทย ระยะที่ 3. สืบค้นจาก https://onde.go.th. ภาษาอังกฤษ

Isari, D., Bissola, R., & Imperatori, B. (2019), HR Devolution in the Digital Era: What Should We Expect?. In Bissola, R. & Imperatori, B. (eds.), HRM 4.0 for Human-Centered Organizations HRM 4.0 - Advanced Series in Management, 23, 41-61, Bingley, UK: Emerald Publishing Limited. AIHR Digital. (2020). Back to Basics: What is Digital HR?. Retrieved from https://www.digitalhrtech.com Bondarouk, T., & Brewster, C. (2016). Conceptualizing the Future of HRM and Technology Research. The International Journal of Human Resource Management, 27(21), 2652- 2671. Dave, U. (2019). Digital HR: What Is It and What’s Next?. Retrieved from https://www.linkedin.com. Deloitte. (2017). Rewriting the rules for the digital age. Retrieved from https://www2.deloitte.com DiRomualdo, A., El-Khoury, D., and Girimonte, F. (2018). HR in the Digital Age: How Digital Technology will Change HR's Organization Structure, Processes, and Roles. Strategic HR Review, 17(5), 234–242. Isari, D., Bissola, R., & Imperatori, B. (2019). HR devolution in the digital era: What should we Expect? In HRM 4.0 for human-centered organizations. Emerald Publishing Limited. Nawaz, N. (2017). A Comprehensive Literature Review of the Digital HR Research Field. Information and Knowledge Management, 7(4), 15-20. Oracle. (2016). From Theory to Action: A Practical Look at What Really Drives Employee Engagement. Retrieved from https://www.oracle.com.