วารสารบริหารรัฐกิจ สำนักวิชาบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย



รายละเอียดของบทความ
วารสารบริหารรัฐกิจ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม - ธันวาคม 2566

ชื่อเรื่อง (th) : องค์ประกอบของการบริหารแบบบูรณาการ
ชื่อเรื่อง (en) : Components of Integrated Management

ชื่อผู้แต่ง (th) : ทิวากร เหล่าลือชา
ชื่อผู้แต่ง (en) : TIWAKORN LAOLUECHA
PDF
บทคัดย่อ
องค์ประกอบของการบริหารแบบบูรณาการที่ใช้ในบทความครั้งนี้ หมายถึง ความคิดเห็นของกลุ่ม ตัวอย่างต่อการบริหารจัดการ หรือการดาเนินงานของการบริหารบูรณาการในการจัดบริการสาธารณะแนว ทางการเข้าร่วมเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก สามารถ ดาเนินงานได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เป็นไปในทิศทางที่เอื้ออานวยประโยชน์ต่อประชาชนและประเทศชาติ ทั้งนี้ โดยผู้เขียนบทความได้สังเคราะห์ตัวแปรออกเป็น 7 ตัวแปร ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ด้านการจัดองค์การ (Organizing) องค์ประกอบที่ 2 ด้านนโยบาย (Policy) องค์ประกอบที่ 3 ด้านการบริหารบุคลากร (Staff) องค์ประกอบที่ 4 ด้านพฤติกรรมการบริหาร (Style) องค์ประกอบที่ 5 ด้านระบบและวิธีการปฏิบัติงาน (System) องค์ประกอบที่ 6 ด้านค่านิยมร่วม (Shared values) และองค์ประกอบที่ 7 ด้านทักษะในการ ปฏิบัติงาน (Skill) คาสาคัญ: องค์ประกอบ, การบริหาร, การบริหารแบบบูรณาการ
Abstract
The components of integrated management used in this article refer to the opinions of the sample on management or the implementation of the integrated administration in the provision of public services, approaches for participating in the partnership between the public and private sectors in the Eastern Special Development Zone project Able to operate and achieve objectives that are in a direction that is conducive to the benefit of the people and the nation. The author of the article has synthesized the variables into 7 variables: Component 1, Organizational (Organizing), Component 2, Policy (Policy) Component 3, Personnel Management (Staff), Component 4, Management Behavior (Style) Component 5, System and Operation Method Component 6 Shared values and Component 7 Skills. Keywords: Components, Management, Integrated Management
บรรณานุกรม
ภาษาไทย ฉัตรณรงค์ ฉัตรภูติ. (2560). การบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ตามแนวคิดของสานักงาน คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. ปาริชาติ เข่งแก้ว. (2563). แนวทางการบริหารสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation, 6(5), 335-345. พัทธ์ยมล สื่อสวัสดิ์วณิชย์. (2558). ต้นแบบการบริหารจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ ในภาคตะวันออกของประเทศไทย. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัย สยาม. พิชญาภา ยืนยาว. (2562). ตาราภาวะผู้นาทางการบริหารการศึกษาและสถานศึกษา. นครปฐม : โครงการตารา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. ยงยุทธ ยะบุญธง. (2564). การบริหารสถานศึกษาแห่งการสร้างสรรค์นวัตกรรม. กรุงเทพฯ: (อยู่ระหว่างการ ดาเนินการจัดพิมพ์). ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์ พับลิเคชั่นส์. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2555). การบริหารจัดการและการบริหารยุทธศาสตร์ของหน่วยงานของรัฐ. กรุงเทพฯ: โฟรเพช. ศุภชัยยาวะประภาษ. (2548). การบริหารงานบุคคลภาครัฐไทย: กระแสใหม่และสิ่งท้าทาย. กรุงเทพฯ: จุดทอง. สานักงาน ก.พ. (2556). การวางแผนทางก้าวหน้าในสายอาชีพ (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: บริษัท อัพทรูยูครีเอทนิว จากัด. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2556). คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ ตามแนวทาง การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารราชการแบบบูรณาการ. กรุงเทพ ฯ: สานักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.). อุทัย เลาหวิเชียร. (2559). ค่านิยมของการบริหารงาน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เสมาธรรม. ภาษาอังกฤษ Amorim, P., Gunther, H. O., & Almada–Lobo, B. (2012). Multi-objectiveintegration production and distribution planning of perishable products. International Journal of Production Economics, 138(1), 89-101. Everard, K.B., Morris, G. and Wilson, Ian. (2004). Effective School Management (4thed.). Sage Publication.

George, J.M.,and Jones, G.R. (1999). Understanding and managing: Organizational Behavior (2nd ed.). Massachusetts: Addison – Wesley. Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (1993). Educational administration. New York: McGraw-Hill, Inc. Kaplan, R. S., & Norton, D. P. (2008). The execution premium. Boston, MA: Harvard Business School. Peters, T., & Waterman, R. H. (2010). In Search of Excellence: Lessons from America’s Best-Run Companies. New York: Harper & Row. Porter, M. E. (2001). The value chain and competitive advantage. Understanding Business Processes. New York: Free Press. Scholtes, P. R. (1998). The leader’s handoffs making things happen, gettingthings done. New York: McGraw–Hill.